����������Siamsafety.com เริ่มให้บริการฝึกอบรมและสัมมนาในปี 2547 ด้วยวิทยากรที่มีประสบการณ์และมีคุณสมบัติของการเป็นวิทยากรคุณภาพ และมีความรู้ความสามารถในระดับอาวุโส เราบริการฝึกอบรมและสัมมนาที่จำเป็นและสำคัญต่อการบริหารระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม โดยเน้นหวังผลการปฏิบัติที่ได้รับจากการอบรมและสัมมนา มิใช่เป็นเพียงการยึดติดกับทฤษฎี ผู้เข้าอบรมต้องสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในงานจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และให้สามารถมองถึงโอกาสในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมต่อไปได้ด้วย เราบริการฝึกอบรมบนพื้นฐานของการมุ่งเน้นที่ลูกค้าเป็นสำคัญ โดยให้บริการจัดอบรมแบบ Public และ In House (จัดภายในสถานประกอบการ) ในทุกจังหวัดและทุกสถานที่ ทั้งหลักสูตรตามที่กฎหมายกำหนด และหลักสูตรเฉพาะด้านความปลอดภัย หรือหัวข้อตามความต้องการของสถานประกอบการ โดยปรับหลักสูตรการอบรมให้เข้ากับการดำเนินการของสถานประกอบการให้มากที่สุด เพื่อให้แน่ใจว่ารูปแบบ วัฒนธรรมองค์กรที่มีอยู่ไม่ทำให้เกิดอุปสรรคกับความมีประสิทธิผลของการนำมาประยุกต์ใช้ และเพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดแก่องค์กร

หลักสูตรการฝึกอบรมและสัมมนา

�เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน
�เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร
�เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค
�เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคขั้นสูง
�คณะกรรมการความปลอดภัย
�หัวหน้าหน่วยงานความปลอดภัย�
�คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ

 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานสำหรับลูกจ้างทั่วไป ลูกจ้างเข้าทำงานใหม่ และลูกจ้างที่เปลี่ยนงาน
 การจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต ตามข้อบังคับคณะกรรมการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559
 ผู้ตรวจประเมินภายใน การจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต ตามข้อบังคับคณะกรรมการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559
 การจัดทำข้อบังคับและคู่มือความปลอดภัยในการทำงานตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2549
 รวมเทคนิคการประเมินความเสี่ยงทุกวิธี และหลักเกณฑ์การเลือกวิธีการประเมินความเสี่ยงที่เหมาะสม
 เทคนิคชี้บ่งอันตราย HAZOP เทคนิคจำเป็นที่ไม่ใช่เฉพาะโรงงานปิโตรเคมี
 การประเมินความเสี่ยง
 การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ และการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง
 การกำจัดพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อความปลอดภัย

 ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุและผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น
 ทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
 เทคนิคการเป็นวิทยากรปั้นจั่น ชนิดปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูงและปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ชนิดอื่น

 การฝึกอบรมการฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้น
 การฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมหนีไฟ
 การจัดทำแผนฉุกเฉินและการซ้อมแผนฉุกเฉิน
 การบริหารเหตุฉุกเฉิน
 การป้องกันและระงับอัคคีภัย
 การรับเหตุฉุกเฉิน…กรณีรังสีรั่วไหล
 การรับเหตุฉุกเฉิน…กรณีหม้อน้ำระเบิด

 กฎหมายใหม่เพื่อการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานและการเตรียมการที่จำเป็น
 กฎหมายสิ่งแวดล้อมกับการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงงาน
 สรุปประเด็นกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่โรงงานต้องปฏิบัติตาม…สำหรับ “ผู้บริหาร”
 กฎหมายการจัดการสารเคมีและวัตถุอันตราย
 กฎหมายการจัดการของเสีย

 การขับรถยกอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และการบำรุงรักษา
 การขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุ
 การขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุ (Defensive Driving) ประเภทรถหัวลาก
 การขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุ สำหรับรถจักรยานยนต์

 จิตสำนึกเพื่อความปลอดภัย
 จิตสำนึกเพื่อสิ่งแวดล้อม
 จิตสำนึกเพื่อความปลอดภัยสำหรับหัวหน้างาน
 ความปลอดภัยในการทำงานภายในโรงงาน

 ความปลอดภัยในการใช้ปั้นจั่น และการบำรุงรักษา
 ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
 ความปลอดภัยในงานซ่อมบำรุง
 ความปลอดภัยในการทำงานกับไฟฟ้า 
 ความปลอดภัยในการทำงานกับรังสีเอกซ์
 ความปลอดภัยในการทำงานกับลิฟต์ขนส่งภายในโรงงาน

 การทำงานกับเครื่องจักรด้วยความปลอดภัย
 ระบบการอนุญาตให้ปฏิบัติงาน (Work Permit System)
 การจัดการระบบ Lockout & Tagout ให้ใช้งานได้จริง
 เทคนิคการตรวจสอบสภาพอาคารและการตรวจสอบในโรงงานอุตสาหกรรม
 การตรวจสอบความปลอดภัย
 เทคนิคการบริหารความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
 การบริหารความปลอดภัยเพื่อลดความเสี่ยงภัยและการสูญเสีย
 หลักการออกแบบ การทำงานและการตรวจสอบระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
 เทคนิคการตรวจระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
 มาตรการความปลอดภัยระบบทำความเย็นที่ใช้แอมโมเนีย
 แนวทางการติดตั้งระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้าในพื้นที่มีไอระเหยของสารไวไฟ
 มาตรการป้องกันอันตรายจากฝุ่นระเบิด และร่างกฎหมาย 
 เทคนิคการควบคุมการทำงานเชื่อมและตัดโลหะอย่างปลอดภัย
 เทคนิคบริหารงานผู้รับเหมาเพื่อทำงานให้เรา…อย่างปลอดภัย

 ความรู้ในการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 มาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (PPE)และการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ

 เทคนิคการสอบสวนอุบัติเหตุอย่างมีประสิทธิภาพ
 เทคนิคการสอบสวนอุบัติเหตุ ที่เป็นสาเหตุของอุบัติเหตุอันแท้จริง
 เทคนิคการควบคุมอุบัติเหตุให้เป็นศูนย์ ( 7 STEPS TO ZERO ACCIDENT )
 อุบัติเหตุเป็นศูนย์ด้วยวิธี KYT
 การจัดการเหตุการณ์เฉียด (Near Miss Management : CCCF)

 การยศาสตร์เพื่อการเพิ่มผลผลิต 
 การประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ การทำงานด้วยวิธีการ RULA
 การประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ การทำงานด้วยวิธีการ ROSA, OWRS, REBA และ OCRA
 ความปลอดภัยในการใช้สารเคมีอันตราย
 การรับเหตุฉุกเฉินกรณีสารเคมีหก รั่วไหล
 ข้อมูลความปลอดภัยทางด้านสารเคมี MSDS
 ติวเข้ม… เพื่อเป็น “บุคลากรเฉพาะ รับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย”
 เทคนิคการจัดทำ SDS (Safety Data Sheet) ตามระบบ GHS
 ระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย (GHS)

 ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง ที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีอันตราย
 โรคจากการทำงาน…ที่โรงงานควรทราบ
 แนวทางการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงด้านสารเคมี และกายภาพจากการประกอบอาชีพในสถานประกอบการ (มอก. 2547-2555)
 หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ (ตามกฎหมาย) 
 แนวทางการควบคุมและแก้ไขปัญหาสภาพความร้อนในพื้นที่ทำงาน
 แนวทางการตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่มีสารเคมีในการทำงาน

 การปฐมพยาบาล (First Aid)
 วิธีปฏิบัติ และการปฐมพยาบาลและการช่วยชีวิตผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้า
 รวมเทคนิคการปฐมพยาบาลอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการทำงาน

 Safety Talk
 เทคนิคการสื่อสารด้านความปลอดภัย อย่างมีประสิทธิภาพ
 เทคนิคการเป็นวิทยากรฝึกอบรมด้านความปลอดภัย
 หัวหน้างานกับความปลอดภัย
 5 ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
 3 ป เพื่อความปลอดภัย
 จิตวิทยาในการพัฒนาการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
 ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม และกิจกรรม Walk Rally
 การสร้างความรักและความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์กร
 พนักงานดีเด่นขององค์กร
 การสร้างทีมงานและจิตสำนึกการทำงานร่วมกัน
 กิจกรรม 5 ส กับการสร้างทีมงาน
 การบริหารจัดการรถรับ-ส่งพนักงาน อย่างปลอดภัยและรักษาสิทธิของผู้ว่าจ้าง
 การจัดการห้องพยาบาลในสถานประกอบการ ให้สอดคล้องตามที่กฎหมายกำหนด

 ข้อกำหนด EICC และแนวทางการตรวจประเมินตนเอง (ELECTRONIC INDUSTRY CODE OF CONDUCT)
 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมาตรฐาน และข้อกำหนด ISO 9001
 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมาตรฐาน และข้อกำหนด ISO 14001
 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมาตรฐาน และข้อกำหนด ISO 45001
 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมาตรฐาน และข้อกำหนด มอก/OHSAS18001
 การจัดทำมาตรฐานเพื่อความรับผิดชอบ ต่อสังคม (CSR) : ISO 26000
 การตรวจประเมินภายใน ISO 9001
 การตรวจประเมินภายใน ISO 14001
 การตรวจประเมินภายใน ISO 45001
 การตรวจประเมินภายใน มอก/OHSAS 18001
 การจัดทำและควบคุมเอกสารระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001 : 2008
 การตรวจประเมินภายใน รวมระบบ ISO 9001:2000, ISO 14001 และ OHSAS 18001
 การนำเทคนิค KPI ไปใช้ในระบบบริหารคุณภาพ
 จิตสำนึกคุณภาพ
 การสร้างระบบ KPI ในระบบ ISO 14001 และ มอก.18001
 การนำ SA8000 และมาตรฐานแรงงานไทย มาประยุกต์ใช้
 การจัดทำแผนฉุกเฉินและแผนป้องกันระงับอัคคีภัยตามกฎหมายและระบบบริหาร ISO 14001 และ มอก.18001
 เทคนิคและวิธีการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ ในระบบ ISO 9001:2008/ISO 14001 และ มอก.18001